ชื่อองค์ความรู้  : กลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ

วันที่ เดือน พ.ศ. ที่เผยแพร่ : –

ผู้เชี่ยวชาญ/ผู้รู้/หน่วยงานเจ้าของความรู้

ชื่อ-นามสกุล : ณัฐิยา ลาภเลิศสุข 
กลุ่มงาน :

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

กอง :  –
โทรศัพท์ :  –
E-mail :  –

อธิบายความเชื่อมโยงขององค์ความรู้นี้กับภารกิจของสำนัก/กอง/กลุ่ม

Key Words ขององค์ความรู้

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์

สาระสำคัญขององค์ความรู้

  • สาเหตุที่ยุทธศาสตร์ไม่ถูกขับเคลื่อน หรือ การขับเคลื่อนไม่ประสบความสำเร็จ
    1. ฝ่ายบริหารงานบุคคลและผู้ดูแลเทคโนโลยีสารสนเทศไม่ได้ยึดยุทธศาสตร์ขององค์กรเป็นหลัก การวางแผน/โครงการ และกระบวนการทำงานยังไม่ได้มีการออกแบบหรือปรับเปลี่ยนให้รองรับกับยุทธศาสตร์ขององค์กร

    ๒. องค์กรไม่ได้กำหนดงบประมาณในการดำเนินโครงการที่มีความสัมพันธ์

    เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์

    ๓. การประชุมผู้บริหารใช้เวลาน้อยในการปรึกษาหารือการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ขององค์การ

    ๔.ผู้ปฏิบัติงานไม่รู้จัก/ไม่เข้าใจยุทธศาสตร์ขององค์กร

    ๕. ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานยังไม่สามารถเชื่อมโยงระหว่างผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงานกับค่าตอบแทน

    ใช้ยุทธศาสตร์ เป็นศูนย์กลางของระบบการบริหารจัดการและกระบวนการปฏิบัติงาน ที่ใช้วิธีการ/แนวทางในการพัฒนาองค์กรเพื่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 5 ประการ

    1. เปลี่ยนแปลงจากผู้บริหารระดับสูง
    2. นำยุทธศาสตร์แปลงเป็นแผนงาน/โครงการที่สามารถปฏิบัติให้เกิดผลเป็นรูปธรรม
    3. สร้างความเชื่อมโยงและบูรณาการการปฏิบัติงานของฝ่ายต่างๆในองค์กร
    4. สร้างแรงจูงใจให้บุคลากรมีความรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ/ยุทธศาสตร์ขององค์กร
    5. วางระบบ จัดระเบียบ การปฏิบัติงานตามยุทธศาสตร์อย่างเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่อง

    มีข้อเสนอห้มีการจัดตั้ง สำนักบริหารยุทธศาสตร์ ขึ้นตรงกับผู้บริหารสูงสุดเพื่อ ช่วยเหลือ สนับสนุน ประสาน เชื่อมโยง และผลักดันงานของฝ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์ รวมถึงการพัฒนาและบริหารระบบการวัดผลการดำเนินงานอย่างสมดุลทั้งในระดับองค์กรจนถึงบุคคล  และการสื่อสารสร้างความเข้าใจร่วมในประเด็นยุทธศาตร์ององค์การ การจัดการความรู้และนวัตกรรม

             สำนักบริหารยุทธศาสตร์มีบทบาทภารกิจสำคํญ

    • บทบาทหลัก

    – การจัดการระบบการวัดผลการดำเนินงาน

    • การปรับแต่งและเชื่อมโยงภายในองค์การ
    • การทบทวนยุทธศาสตร์

    ๒. บทบาทที่พึงประสงค์

    • การพัฒนายุทธศาสตร์
    • การสื่อสารยุทธศาสตร์
    • การจัดการข้อเสนอและความคิดริเริ่มใหม่

    ๓. บทบาทเชิงบูรณาการ

    การบูรณาการยุทธศาสตร์เข้ากับฝ่ายต่างๆในองค์กร (แผนงานงบประมาณ  บุคลากร และ IT)

Comments are closed.